เขียนเอง ยังงงเอง
ท่านมือขวาวิจารณ์ครบถ้วน
ขาดแต่ว่า
ท่านชลนา มีเคล็ดใดเพิ่มนะ
รอท่านชลนามาเฉลย
หมูเสือช้าง กวางเก้ง ก็เองรู้ เมื่อแยกสระออกเป็นคู่ๆจะได้คำดังนี้
หมูรู้ ช้างกวาง เองเก้ง ส่วนที่แปลกออกไป คือ เสือ กับ ก็ ซึ่งไม่ได้มาเป็นคู่ๆ
เมื่อนำมาเขียนเป็นกลอนก็จะได้ดังนี้
หมูเสือช้าง กวางเก้ง ก็เองรู้
ซึ่งตามหลักการนี้ผมยังไม่ได้ลอง และยังไม่เข้าใจนัก ดังนั้นผมจึงได้บอกว่า คุณชลนา ทิชากร ได้เข้าใจเคล็ดลับการแต่งมากกว่า ผมและคุณ อริญชย์
ความจริงคุณชลนาเป็นคนไม่คอยชอบอธิบายอะไรเท่าไรนัก แต่เพื่อไขข้อข้องใจ ว่า คุณชลนา มีเข็ดอะไร ให้คุณ (กรกฎ) สบายใจ คุณชลนา ไม่ได้มีเข็ดอะไรเลย เพียงเขียนกลอน แปด ธรรมดา ขึ้นมาบาทหนึ่ง (ไม่รู้เรียกถูกหรือเปล่า) ให้มันคล้องจองกัน และอ่านแล้วได้ใจความ คุณชลนา ยก หมูเสือช้าง กวางเก้ง เองก็รู้ ได้ใจความ แต่ไม่ถูกฉันทลักษณ์ คำว่าเองเป็นคำชิงสัมผัส เลยต้องเปลี่ยนเป็น หมูเสือช้าง กวางเก้ง ก็เองรู้ ไม่ค่อยได้ใจความเท่าไร เมื่อแต่งกลอนแปด ธรรมดา มาหนึ่งบาท เอาหนึ่งบาทแปดคำนั่นแหละ มาแต่งต่ออีกสามบาท ให้ครบ สี่บาท คุณชลนา ใช่วิธีนี้ ไม่รู้ว่าใช่เข็ดหรือเปล่า ผิดถูกแนะนำด้วย คุชลนา ก็ยังอ่อนหัดอยู่เหมือนกัน
ชลนา ทิชากร
ท่านมือขวาวิจารณ์ครบถ้วน
ขาดแต่ว่า
ท่านชลนา มีเคล็ดใดเพิ่มนะ
รอท่านชลนามาเฉลย
หมูเสือช้าง กวางเก้ง ก็เองรู้ เมื่อแยกสระออกเป็นคู่ๆจะได้คำดังนี้
หมูรู้ ช้างกวาง เองเก้ง ส่วนที่แปลกออกไป คือ เสือ กับ ก็ ซึ่งไม่ได้มาเป็นคู่ๆ
เมื่อนำมาเขียนเป็นกลอนก็จะได้ดังนี้
หมูเสือช้าง กวางเก้ง ก็เองรู้
ซึ่งตามหลักการนี้ผมยังไม่ได้ลอง และยังไม่เข้าใจนัก ดังนั้นผมจึงได้บอกว่า คุณชลนา ทิชากร ได้เข้าใจเคล็ดลับการแต่งมากกว่า ผมและคุณ อริญชย์
ความจริงคุณชลนาเป็นคนไม่คอยชอบอธิบายอะไรเท่าไรนัก แต่เพื่อไขข้อข้องใจ ว่า คุณชลนา มีเข็ดอะไร ให้คุณ (กรกฎ) สบายใจ คุณชลนา ไม่ได้มีเข็ดอะไรเลย เพียงเขียนกลอน แปด ธรรมดา ขึ้นมาบาทหนึ่ง (ไม่รู้เรียกถูกหรือเปล่า) ให้มันคล้องจองกัน และอ่านแล้วได้ใจความ คุณชลนา ยก หมูเสือช้าง กวางเก้ง เองก็รู้ ได้ใจความ แต่ไม่ถูกฉันทลักษณ์ คำว่าเองเป็นคำชิงสัมผัส เลยต้องเปลี่ยนเป็น หมูเสือช้าง กวางเก้ง ก็เองรู้ ไม่ค่อยได้ใจความเท่าไร เมื่อแต่งกลอนแปด ธรรมดา มาหนึ่งบาท เอาหนึ่งบาทแปดคำนั่นแหละ มาแต่งต่ออีกสามบาท ให้ครบ สี่บาท คุณชลนา ใช่วิธีนี้ ไม่รู้ว่าใช่เข็ดหรือเปล่า ผิดถูกแนะนำด้วย คุชลนา ก็ยังอ่อนหัดอยู่เหมือนกัน
ชลนา ทิชากร
อันนั้นถูกต้องครับ ก็คือเขียนกลอนแปดธรรมดาขึ้นมาหนึ่งวรรคนั่นแหละ
แต่หากไม่คิดถึงการเตรียมการเรื่องสัมผัสและระดับเสียงสูงต่ำในท้ายววรคสองและสาม
อีกทั้งไม่ได้เตรียมคำเสียงสามัญไว้สำหรับการลงท้ายวรรคสี่แล้วละก็ รับรองว่ากลอน
ที่แต่งออกมาจะดูไม่จืดและจะทำให้คนแต่งงงกันไปใหญ่และจะต้องเสียเวลาแก้แล้วก็อีก
คนที่แต่งได้ก็คือคนที่คิดและเตรียมทุกอย่างไว้พร้อมตั้งแต่บรรทัดแรกแล้ว
หากบรรทัดแรกผิด ทุกอย่างจะผิดพลาดไปหมด ดังคำว่าเดินหมากตาแรกผิดตัวเดียวแพ้ทั้งกระดาน