ค่าว
http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-1/kao/index.html
เรียบเรียงโดย หน้อยนุ กว้าวค่าเนิ้ง ฮิมจาง
“ ค่าว “ หมายถึงคำประพันธ์ที่มีลักษณะร้อยสัมผัสสอดเกี่ยวกันไปแบบร่ายและจบลงด้วยโคลงสองหรือโคลงสามสุภาพ
มีหลายชนิดคือ เรื่องที่ปรากฏในเทศนาธรรม เรียกว่า “ ค่าวธรรม “ ถ้าแต่งเป็นจดหมายรักเรียกว่า “ ค่าวใช้
“ถ้านำไปอ่านเป็นทำนองเสนาะเรียกว่า “ค่าวซอ “หรือ”เล่าค่าว “ และหากเป็นการขับลำนำตอนไปแอ่วสาวเรียกว่า “จ๊อย”
แม้ชาวบ้านที่พูดคล้องจองกันเรียกว่า “อู้เป็นค่าวเป็นเครือ"
สำนวนค่าว มี 3 ส่วน คือ บทขึ้นต้น, บทดำเนินเรื่อง และบทสุดท้าย
ฉันทลักษณ์ของค่าว มีดังนี้
1 ) ค่าว 1 บท มี 3 บาท ( 3 บรรทัด ) บาทละ 4 วรรค
2 ) สามวรรคแรกมี 4 คำ ส่วนวรรคที่สี่ มี 2 - 4 คำ มี
3 ) บังคับเสียงวรรณยุกต์สามัญ , โท , ตรี และจัตวา
4 ) การส่งสัมผัสประกอบด้วย สัมผัสระหว่างวรรคและสัมผัสระหว่างบาทสัมผัสระหว่างวรรค
ส่งจากวรรคท้ายวรรคที่สอง ไปยังคำท้ายวรรคที่สามของทุกบาท
5 ) บังคับเสียงวรรณยุกต์สามัญ , โท , ตรี และจัตวา ตามตำแหน่งที่กำหนด
(มีต่อครับ)
ชุมชน บ้านกลอนไทย ชุมชนสำหรับคนไทยผู้รักกลอน |
23 พฤศจิกายน 2024, 08:06:AM | |||
|
ผู้เขียน | หัวข้อ: ค่าว (อ่าน 1594 ครั้ง) |
| ||||||||||
Email: